วันอาทิตย์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2555

มหาบัญฑิตใหม่ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่-นครปฐม


การศึกษาที่สร้างนวัตกรรมชีวิต











การศึกษาที่สร้างนวัตกรรมชีวิต









การศึกษาที่สร้างนวัตกรรมชีวิต





การศึกษาที่สร้างนวัตกรรมชีวิต



การศึกษาที่สร้างนวัตกรรมชีวิต




การศึกษาที่สร้างนวัตกรรมชีวิต


                                          

การศึกษาในระบบ

การศึกษา (Education) ในมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 นิยาม ความหมายของการศึกษา มีความหมายว่า “กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรมการสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคมการเรียนรู้ และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต” และมาตรา 15 ได้กำหนดระบบการศึกษา ในการจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
ความหมายการศึกษาในระบบ
         การศึกษาในระบบ (Formal Education) คือการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษาการวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษาที่แน่นอน
วัตถุประสงค์ของการศึกษาในระบบ
         1) ถ่ายทอดหรือปลูกฝัง เนื้อหา ความรู้ ความเข้าใจที่เหมาะสมเพื่อให้ผู้ได้รับการศึกษาวางตัวได้เหมาะสมในสังคม และมีความสามารถประกอบอาชีพตามความถนัด ความสนใจ หรือตามโอกาสของแต่ละบุคคล
         2) เตรียมเด็กก่อนวัยเรียน ให้มีความพร้อมในการเรียนรู้และจัดให้เด็กในวัยเรียน ได้รับการศึกษาเพื่อเรียนรู้ และพัฒนาตนเองต่อเนื่องเพื่อให้มีพัฒนาการทั้งทางร่างกาย เชาวน์ปัญญา ความสนใจที่เหมาะสมมีความพร้อมในการศึกษาระดับสูงขึ้นไป
         3) เพื่อพัฒนาเด็กในวัยเรียนทุกระดับให้ได้รับการศึกษา เพื่อประโยชน์สำหรับการเตรียมตัวระดับพื้นฐาน และเพื่อมีความรู้ ความสามารถในการประกอบอาชีพการงานต่อไป
         4) ตอบสนองความต้องการทางการศึกษาระดับสูงในเชิงคุณภาพ มุ่งส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้พัฒนาความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน เพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพ ซึ่งอาจดำเนินการโดยสถาบันอุดมศึกษา ที่เน้นการวิเคราะห์ วิจัยระดับสูง มุ่งคิดค้นเนื้อหาสาระที่แปลกใหม่จากเดิม นอกจากนี้ยังรวมถึงการฝึกอบรมเฉพาะทางเช่น ด้านการเกษตร การอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์สุขภาพ เป็นต้น
         5) พัฒนาศักยภาพของบุคคลเต็มความสามารถและตอบสนองวิสัยทัศน์ในการพัฒนาประเทศ เน้นพัฒนากลุ่มเป้าหมายในลักษณะบูรณาการ คือ มีความสมบูรณ์ครบถ้วนทุกด้าน ทั้งทางร่างกาย สติปัญญาคุณธรรม ความคิด ความสำนึก ความรับผิดชอบ ฯลฯ ซึ่งตามปกติเป็นหน้าที่ของสถานศึกษา และอาจจัดเสริมเติมในลักษณะฝึกอบรมเฉพาะหรือแทรกในกิจกรรมการเรียนการสอนปกติ
เป้าหมายของการจัดการศึกษาในระบบ
         1) เด็กก่อนวัยเรียน เป็นการจัดกิจกรรมในลักษณะการเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ได้แก่ กิจกรรมการเคลื่อนไหวตามจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเกมการศึกษาเป็นต้น
         2) บุคคลในวัยเรียน เป็นการจัดการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายดังต่อไปนี้
              2.1) การศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้แก่ การจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐานนั้น มักใช้เวลาประมาณสิบสองปี เป็นส่วนใหญ่ ในช่วงปลายของการศึกษาเยาวชนที่สนใจสายอาชีพ แทนที่จะศึกษาสายสามัญ ก็อาจเลือกเข้าเรียนในสถานศึกษา สายอาชีพได้ ซึ่งได้แก่ โรงเรียนอาชีวศึกษา ประเภทต่าง ๆ
             2.2) การศึกษาระดับอุดมศึกษา เมื่อสำเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้เรียนที่มุ่งศึกษาต่อก็อาจเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งรวมสถาบันอุดมศึกษาสายอาชีพต่ำกว่าปริญญาด้วย


รายชื่อผู้จบการศึกษา มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต MBA จ.นครปฐม

      การศึกษาที่ ใส่ใจใส่ความรู้สึกใส่สามัญสำนึก จนเกิดนวัตกรรม การเรียนรู้เกิดองค์ความรู้ใหม่ เสริมสร้างองค์กรให้เข็มแข็งให้ธุรกิจยั่งยื่นอยู่รอดในวงธุรกิจ
       
        คณะมหาบัญฑิต มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่  จังหวัดนครปฐมขอขอบคุณครูทุกท่านที่สร้างเสริมประสบการณ์ที่ดีตลอดมา

<><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><>
<>
<><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><>

© 2011 office of the National Research Council of Thailand. All rights reserved.







  1. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่

    คาดหวังที่จะเติมเต็ม
     ในสังคมที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ผู้บริหารจะต้องมีศักยภาพที่จะรังสรรค์สังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และพึ่งตนเองได้ ศักยภาพหนึ่งที่ผู้บริหารการศึกษาพึงมีคือต้องเป็นผู้แสวงหาความรู้ รู้จักคัดกรองข้อมูลข่าวสาร รู้จักการนำทฤษฎีที่เหมาะสมเพื่อสังเคราะห์และ บูรณาการ กับองค์ประกอบหลักอื่นๆของสังคมเช่นความเชื่อในเรื่องประชาธิปไตย ความเสมอภาคและ
    วัฒนธรรมฯลฯ จนได้แนวทางสู่การปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมสำหรับสังคมไทย การเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาไทยเป็นเรื่องที่ท้าทายผู้บริหารการศึกษา การเรียนรู้การค้นคว้าและวิจัยรวมทั้งกระบวนการนำผลการวิจัยไปสู่วิธีปฏิบัติเป็นหน้าที่หลักที่นักการศึกษาต้องกล้าทำและดำเนินการให้ทันเวลาเพื่ออนาคตประเทศชาติ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คาดหวังที่จะเติมเต็มศักยภาพให้แก่ผู้บริหารการศึกษาทั้งหลายของไทย
  2. การศึกษาที่สร้างนวัตกรรมชีวิต





           ท่านมหาบัณฑิตที่ไม่มีรายชื่อให้ตรวจสอบกับ การลงทะเบียนบัณฑิตวิทยาลัย ในเวบของมหาวิทยาลัยฯ































การศึกษาที่สร้างนวัตกรรมชีวต



  1. ปรัชญา
              การเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักใฝ่รู้ ซื่อสัตย์ ขยัน เที่ยงธรรม และมีคุณธรรมในการปฏิบัติงาน ย่อมเป็นผู้ที่สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข

    การศึกษาที่สร้างนวัตกรรมชีวิต


พันธกิจ  

      1)  จัดและบริหารการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยเน้นคุณภาพตามมาตรฐาน กระทรวงศึกษาธิการและสากล 
      2)  ส่งเสริมการวิจัยพื้นฐาน และงานวิจัยประยุกต์โดยให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาของท้องถิ่น 
      3)  ให้บริการวิชาการเพื่อประโยชน์ต่อชุมชนและท้องถิ่นในภาคเหนือ 
      4)  ส่งเสริมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ศาสนา อนุรักษ์ และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 
      5)  พัฒนาองค์กรและสาขาวิชาให้เป็นองค์แห่งการเรียนรู้ สำหรับ มหาวิทยาลัยและชุมชน วิสัยทัศน์ เป็นหน่วยงานบริหารจัดการและควบคุมดูแลมาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้สำเร็จการศึกษามีจริยธรรม มีความรู้คู่คุณธรรม มีความเข้มแข็งทางวิชาการ มีความสามารถในการวิจัย เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่สร้างนวัตกรรมทางปัญญา ตลอดจนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
  1. ปณิธาน

              บัณฑิตวิทยาลัยได้ยึดปณิธานในการดําเนินงานของมหาวิทยาลัย ในการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย โดยยึดมั่นในความซื่อตรง ขยัน เที่ยงธรรม มุ่รับใช้สังคมชียงใหม่และสังคมไทย ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอันหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว ภายใต้เงื่อนไขคุณธรรม หลักวิชาความรู้ เพื่อนำไปสู่ความสมดุล พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง


  2. North-Chiang Mai University (NCU)
    ก่อตั้ง : พ.ศ. 2542
    ต้นไม้ประจำสถาบัน : ต้นชัยพฤกษ์
    สีประจำสถาบัน : สีชมพู-เหลือง
    จำนวนคณะ : 5 คณะ
    จำนวนนักศึกษา : ประมาณ 1,826 คน
    อัตราค่าเล่าเรียน : หน่วยกิตละ 500-1,500 บาท
    ที่อยู่และเบอร์โทรศัพท์ : 169 หมู่ 3 ตำบลหนองแก้ว อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ โทร. 0 5381 9999
    เว็บไซต์ : www.northcm.ac.th
    ประวัติ
    มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2542 ด้วยแรงบันดาลใจของอาจารย์ ณรงค์ ชวสินธุ์ เพื่อที่จะทดแทนแผ่นดินเกิดด้วยการก่อตั้งสถานศึกษา โดยตั้งใจให้เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดหลักสูตร สาขาการจัดการการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce Management) ระดับปริญญาตรีในคณะบริหารธุรกิจ
    มหาวิทยาลัยมีเป้าหมายเพื่อมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพออกสู่สังคม ทั้งยังให้ความสำคัญต่อการปพื้นฐานและสร้างสำนึกให้บัณฑิตมีความพร้อมและใฝ่ใจในการริเริ่มตลอดเป็นเจ้าของกิจการของตนเอง เพื่อพัฒนาท้องถิ่น สังคมและประเทศชาติ ซึ่งบัณฑิตจะต้องเป็นผู้รู้จริง ทำจริง เก่งในด้านเทคโนโลยี ภาษาดี มีมนุษยสัมพันธ์ ร่วมงานกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีภาวะผู้นำและศีลธรรมจรรยา
    สัญลักษณ์
    มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ใช้เครื่องหมายเป็นวงกลมซ้อนกัน 2 ชั้น ชั้นที่ 1 เป็นอาร์มภายในมีรูปลูกดิ่ง และช่อชัยพฤกษ์อยู่ด้านล่างอาร์ม ถัดจากนั้นเป็นวงกลมชั้นที่ 2 โดยภายในวงกลมเป็นชื่อของมหาวิทยาลัย
    "ช่อชัยพฤกษ์" หมายถึง ความดีและปณิธานของผู้รับใบอนุญาตในความมุ่งมั่นอย่างแน่วแน่ที่จะทำให้สถาบันแห่งนี้เป็นสถาบันการศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ สามารถประสาทวิชาความรู้และปลูกฝังทัศนคติอันพึงปรารถนา พัฒนาทักษะและศักยภาพของเยาวชนไทยให้เป็นพลเมืองดี
    "ลูกดิ่ง" หมายถึง ความมั่นคง ความแน่วแน่ หนักแน่น มีความมั่นคงในวิชาชีพของตน ความมีจุดยืนและยึดมั่นในหลักการแห่งตน เป็นสัญลักษณ์แห่งปัญญาและศาสตร์ทั้งปวงแห่งความเป็นสากล
    อาร์ม หมายถึงจิตวิญญาณซึ่งสามารถถ่ายทอดความรู้และเป็นแหล่งวิชาการที่ผลิตองค์ความรู้ไปสู่ภูมิภาคได้ อีกทั้งยังหมายถึงพลังแห่งความก้าวหน้าทางวิทยาการ
    ส่วนสีประจำมหาวิทยาลัยนั้นใช้ "สีชมพู-เหลือง" สีชมพู สื่อความหมายถึงความสดใส ความสดชื่น และเป็นสีประจำวันพระราชสมภพของสมเด็จพระปิยมหาราชอีกด้วย ส่วนสีเหลือง หมายถึงความสว่างนำทางสู่เป้าหมายที่สูงสุดของชีวิต และเป็นสีประจำวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
    มีอะไรเรียนบ้าง
    1. คณะวิศวกรรมศาสตร์
    หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
    - วิศวกรรมไฟฟ้า
    - วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
    - วิศวกรรมอุตสาหการ
    - วิศวกรรมเครื่องกล
    - วิศวกรรมซอฟต์แวร์
    หลักสูตรเทคโนโลยีศาสตรบัณฑิต
    - เทคโนโลยียานยนต์
    - เทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
    - เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
    - เทคโนโลยีการจัดการพลังงาน
    2. คณะบริหารธุรกิจ
    หลักสูตรบริหารธุรกิจ
    - การบัญชี
    หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
    - คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
    - การจัดการ
    - การจัดการการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
    - การตลาด
    - การจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ
    3. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
    หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
    - รัฐประศาสนศาสตร์
    4. คณะนิติศาสตร์
    หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต
    5. บัณฑิตวิทยาลัย






  3. กิจกรรมเสริมหลักสูตร


    ด้านบริการวิชาการ


    • สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "การพัฒนาทุนมนุษย์"
    โดย..ดร.จิระ หงส์รดารมภ์
     ณ ห้อง สายชล โรงแรมริเวอร์


    เชิญคลิ๊กดูค่ะ




    • สัมมนาเรื่อง                                              "การพัฒนาวิสัยทัศน์ของผู้นำเพื่อการแข่งขันที่ยั่งยืน"     โดย..ศ.ดร.เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฐ์                            ณ วีรันดา รีสอร์ท แอนด์ สปา หัวหิน














    ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม




                       ทัศนศึกษาดูงาน / ตอบแทนสังคม


    มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่
    North-Chiang Mai University
    N northcm2.gif
    ประเภทเอกชน
    ที่ตั้งมหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่
    ตำบลหนองแก๋ว อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่
    เว็บไซต์http://www.northcm.ac.th/

    <><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><><>เกี่ยวกับฉัน

    อุตสาหกรรมการศึกษา
    อาชีพประสานงานการศึกษา
    ตำแหน่งที่ตั้งกรุงเทพฯ, กรุงเทพฯ, ไทย
    ตอบสนองเพือการศึกษา



















































    2 ความคิดเห็น:

    1. ขอแสดงความยินดีกับมหาบัณฑิตทุกคนครับ
      อรุณ
      ตอบลบ
    2. ขอแสดงความดีใจกับ มหาบัณฑิต ทุกท่าน ขอให้น่าที่การงานของทุกท่านบริหารสำเร็จทุกประการสุขภาพดีๆทุกๆท่าน ใช้ความรู้เต็มความรู้ความสามารถครับ ดร.สมัย

    ไม่มีความคิดเห็น:

    แสดงความคิดเห็น